3.หัวข้อบทความ
1. การรักษาความปลอดภัยในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
2. การโจมตีในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
3. การใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย
002 นางสาวศิริยา บุญเรือง
003 นางสาวจิราพร หล้าคำคง
005 นางสาวอารีย์ ชาระมาลย์
006 นางสาวชนิตา ศรีสุวรรณ
007 นางสาวรัชนีกร เหมือนมาตย์
008 นางสาวอมรรัตน์ เพียรอยู่
009 นางสาวจันจิรา เลาะหนะ
010 นางสาวรัตนา บุตรคำโชติ
011 นายวิทยา ศรีชนะ
012 นายจอมพล ชูรัตน์
014 นางสาวแจ่มจรัส นิลดำ
016 นางสาวพิมพ์มาดา กฤษเพชร
018 นางสาวมริสา สุดบนิตย์
019 นางสาวศิรภัสสร แพงโน
022 นายวรวุฒิ พักตร์แก้ว
ความปลอดภัยระบบเครือข่าย
วันพฤหัสบดีที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2562
2.การโจมตีในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1.วิธีการโจมตีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การโจมตีเครือข่าย
แม้ว่าระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะเป็นเทคโนโลยีที่น่าอัศจรรย์ แต่ก็ยังมีความเสี่ยงอยู่มากถ้าไม่มีการควบคุมหรือป้องกันที่ดี การโจมตีหรือการบุกรุกเครือข่าย หมายถึง ความพยายามที่จะเข้าใช้ระบบ (Access Attack) การแก้ไขข้อมูลหรือระบบ (Modification Attack) การทำให้ระบบไม่สามารถใช้การได้ (Deny of Service Attack) และการทำให้ข้อมูลเป็นเท็จ (Repudiation Attack) ซึ่งจะกระทำโดยผู้ประสงค์ร้าย ผู้ที่ไม่มีสิทธิ์ หรืออาจเกิดจากความไม่ได้ตั้งใจของผู้ใช้เองต่อไปนี้เป็นรูปแบบต่าง ๆ ที่ผู้ไม่ประสงค์ดีพยายามที่จะบุกรุกเครือข่ายเพื่อลักลอบข้อมูลที่สำคัญหรือเข้าใช้ระบบโดยไม่ได้รับอนุญาต
1.1แพ็กเก็ตสนิฟเฟอร์
ข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ส่งผ่านเครือข่ายนั้นจะถูกแบ่งย่อยเป็นก้อนเล็ก ๆ ที่เรียกว่า “แพ็กเก็ต (Packet)” แอพพลิเคชันหลายชนิดจะส่งข้อมูลโดยไม่เข้ารหัส (Encryption) หรือในรูปแบบเคลียร์เท็กซ์ (Clear Text) ดังนั้น ข้อมูลอาจจะถูกคัดลอกและโพรเซสโดยแอพพลิเคชันอื่นก็ได้
1.2 ไอพีสปูฟิง
ไอพีสปูฟิง (IP Spoonfing) หมายถึง การที่ผู้บุกรุกอยู่นอกเครือข่ายแล้วแกล้งทำเป็นว่าเป็นคอมพิวเตอร์ที่เชื่อถือได้ (Trusted) โดยอาจจะใช้ไอพีแอดเดรสเหมือนกับที่ใช้ในเครือข่าย หรืออาจจะใช้ไอพีแอดเดรสข้างนอกที่เครือข่ายเชื่อว่าเป็นคอมพิวเตอร์ที่เชื่อถือได้ หรืออนุญาตให้เข้าใช้ทรัพยากรในเครือข่ายได้ โดยปกติแล้วการโจมตีแบบไอพีสปูฟิงเป็นการเปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มข้อมูลเข้าไปในแพ็กเก็ตที่รับส่งระหว่างไคลเอนท์และเซิร์ฟเวอร์ หรือคอมพิวเตอร์ที่สื่อสารกันในเครือข่าย
/
1.3. ผ่านการโจมตีรหัสการโจมตีรหัสผ่าน (Password Attacks) หมายถึงการโจมตีที่ผู้บุกรุกพยายามเดารหัสผ่านของผู้ใช้คนใดคนหนึ่ง ซึ่งวิธีการเดานั้นก็มีหลายวิธี เช่น บรู๊ทฟอร์ช (Brute-Force) ,โทรจันฮอร์ส (Trojan Horse) , ไอพีสปูฟิง , แพ็กเก็ตสนิฟเฟอร์ เป็นต้น การเดาแบบบรู๊ทฟอร์ช หมายถึง การลองผิดลองถูกรหัสผ่านเรื่อย ๆ จนกว่าจะถูก1.4การโจมตีแบบ Man-in-the-Middle
การโจมตีแบบ Man-in-the-Middle นั้นผู้โจมตีต้องสามารถเข้าถึงแพ็กเก็ตที่ส่งระหว่างเครือข่ายได้ เช่น ผู้โจมตีอาจอยู่ที่ ISP ซึ่งสามารถตรวจจับแพ็กเก็ตที่รับส่งระหว่างเครือข่ายภายในและเครือข่ายอื่น ๆ โดยผ่าน ISP การโจมตีนี้จะใช้ แพ็กเก็ตสนิฟเฟอร์เป็นเครื่องมือเพื่อขโมยข้อมูล หรือใช้เซสซั่นเพื่อแอ็กเซสเครือข่ายภายใน หรือวิเคราะห์การจราจรของเครือข่ายหรือผู้ใช้
/
1.5 การโจมตีแบบ DOS
การโจมตีแบบดีไนล์ออฟเซอร์วิส หรือ DOS (Denial-of Service) หมายถึง การโจมตีเซิร์ฟเวอร์โดยการทำให้เซิร์ฟเวอร์นั้นไม่สามารถให้บริการได้ ซึ่งปกติจะทำโดยการใช้รีซอร์สของเซิร์ฟเวอร์จนหมด หรือถึงขีดจำกัดของเซิร์ฟเวอร์ ตัวอย่างเช่น เว็บเซิร์ฟเวอร์ และเอฟทีพีเซิร์ฟเวอร์ การโจมตีจะทำได้โดยการเปิดการเชื่อมต่อ (Connection) กับเซิร์ฟเวอร์จนถึงขีดจำกัดของเซิร์ฟเวอร์ ทำให้ผู้ใช้คนอื่น ๆ ไม่สามารถเข้ามาใช้บริการได้
1.6 โทรจันฮอร์ส เวิร์ม และไวรัสคำว่า “โทรจันฮอร์ส (Trojan Horse)” นี้เป็นคำที่มาจากสงครามโทรจัน ระหว่างทรอย (Troy) และกรีก (Greek) ซึ่งเปรียบถึงม้าโครงไม้ที่ชาวกรีกสร้างทิ้งไว้แล้วซ่อนทหารไว้ข้างในแล้วถอนทัพกลับ พอชาวโทรจันออกมาดูเห็นม้าโครงไม้ทิ้งไว้ และคิดว่าเป็นของขวัญที่กรีซทิ้งไว้ให้ จึงนำกลับเข้าเมืองไปด้วย“Honeynet” แผนที่แสดงพื้นที่ที่โดนโจมตีทางอินเตอร์เน็ตแบบ Real-Time
การโจมตีระบบเครือข่าย/การโจมตีทางอินเตอร์เน็ตนั้นเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาทั่วโลก ซึ่งปัจจุบันข่าวที่เกี่ยวการโจมตีในแต่ละที่ ต้องใช้เวลาไม่ต่ำกว่าชั่วโมงในการรับรู้และแพร่กระจายข่าวออกไป แต่ปัจจุบันผู้ใช้งานสามารถตรวจดูการโจมตีทางอินเตอร์เน็ตที่เกิดขึ้นจริงรอบโลก ในแบบเรียลไทม์ได้แล้วด้วยแผนที่จากโครงการที่ชื่อว่า Honeynet ซึ่งให้ความรู้สึกเหมือนนั่งดูหนังสงครามอยู่ก็ไม่ปาน
ประเภทการโจมตีในระบบเครือข่าย Internet
ประเภทการโจมตีในระบบเครือข่าย Internetการโจมตีในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตภัยคุกคามทางอินเทอร์เน็ตถือได้ว่าเป็นภัยอันตรายต่อสังคมในปัจจุบันเป็นอย่างมาก เพราะนอกจากภัยนี้จะเป็นการรบกวนการทำงานของผู้ที่ใช้งานคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตแล้ว ยังส่งผลเสียต่อข้อมูลสำคัญๆ ที่มีอยู่อีกด้วย1. ชนิดของภัยคุกคามที่เกิดขึ้นบนอินเทอร์เน็ต จำแนกได้ดังนี้1.1 มัลแวร์ (Malware) คือความไม่ปกติทางโปรแกรมที่สูญเสียความลับทางข้อมูล (Confidentiality) ข้อมูลถูกเปลี่ยนแปลง (Integrity) สูญเสียเสถียรภาพของระบบปฏิบัติการ (Availability)
1.2 การโจมตีแบบ DoS/DDos คือการพยายามโจมตีเพื่อทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางหยุดทำงาน หรือสูญเสียเสถียรภาพ หากเครื่องต้นทาง(ผู้โจมตี) มีเครื่องเดียว เรียกว่าการโจมตีแบบ Denial of Service (DoS
1.3 BOTNET หรือ “Robot network” คือเครือข่ายหุ่นรบที่ถือเป็นสะพานเชื่อมภัยคุกคามทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1.4 ข้อมูลขยะ (Spam) คือภัยคุกคามส่วนใหญ่ที่เกิดจากอีเมล์หรือเรียกว่า อีเมล์ขยะ เป็นขยะออนไลน์ที่ส่งตรงถึงผู้รับโดยที่ผู้รับสารนั้นไม่ต้องการ และสร้างความเดือดร้อน รำคาญให้กับผู้รับได้ ในลักษณะของการโฆษณาสินค้าหรือบริการ การชักชวนเข้าไปยังเว็บไซต์ต่างๆ 1.5 Phishing เป็นคำพ้องเสียงกับ “fishing” หรือการตกปลาเพื่อให้เหยื่อมาติดเบ็ด คือ กลลวงชนิดหนึ่งในโลกไซเบอร์ด้วยการส่งข้อมูลผ่านอีเมล์หรือเมสเซนเจอร์ หลอกให้เหยื่อหลงเชื่อว่าเป็นสถาบันการเงินหรือองค์กรน่าเชื่อถือ แล้วทำลิงค์ล่อให้เหยื่อคลิก เพื่อหวังจะได้ข้อมูลสำคัญ เช่น username/password, เลขที่บัญชีธนาคาร, เลขที่บัตรเครดิต เป็นต้น แต่ลิงค์ดังกล่าวถูกนำไปสู่หน้าเว็บเลียนแบบ หากเหยื่อเผลอกรอกข้อมูลส่วนตัวลงไป มิจฉาชีพสามารถนำข้อมูลไปหาประโยชน์ในทางมิชอบได้
1.6 Sniffing เป็นการดักข้อมูลที่ส่งจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งบนเครือข่ายในองค์กร (LAN) เป็นวิธีการหนึ่งที่นักโจมตีระบบนิยมใช้ดักข้อมูลเพื่อแกะรหัสผ่านบนเครือข่ายไร้สาย (Wirdless LAN) และดักข้อมูล User/Password ของผู้อื่นที่ไม่ได้ผ่านการเข้ารหัส
2. วิธีป้องกันตนเองจากภัยคุกคามทางอินเทอร์เน็ต
สำหรับการใช้งานส่วนบุคคล มีดังนี้1. การตั้งสติก่อนเปิดเครื่อง ต้องรู้ตัวก่อนเสมอว่าเราอยู่ที่ไหน ที่นั่นปลอดภัยเพียงใด – ก่อน login เข้าใช้งานคอมพิวเตอร์ต้องมั่นใจว่าไม่มีใครแอบดูรหัสผ่านของเรา2. การกำหนด password ที่ยากแก่การคาดเดา ควรมีความยาวไม่ต่ำกว่า 8 ตัวอักษร และใช้อักขระพิเศษไม่ตรงกับความหมายในพจนานุกรม เพื่อให้เดาได้ยากมากขึ้นและการใช้งานอินเทอร์เน็ตทั่วไป เช่นการ Login ระบบ e-mail, ระบบสนทนาออนไลน์ (chat3. การสังเกตขณะเปิดเครื่องว่ามีโปรแกรมไม่พึงประสงค์ถูกเรียกใช้ขึ้นมาพร้อมๆ กับการเปิดเครื่องหรือไม่ ถ้าสังเกตไม่ทันให้สังเกตระยะเวลาบูตเครื่อง 4. การหมั่นตรวจสอบและอัพเดท OS หรือซอฟต์แวร์ที่ใช้ให้เป็นปัจจุบัน โดยเฉพาะโปรแกรมป้องกันภัยในเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมป้องกันไวรัส, โปรแกรมไฟร์วอลล์ 5. ไม่ลงซอฟต์แวร์มากเกินความจำเป็น ซอฟต์แวร์ที่จำเป็นต้องลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้แก่ – อินเทอร์เน็ตเบราเซอร์ เพื่อให้เปิดเว็บไซต์ต่างๆซอฟต์แวร์ที่ไม่ควรมีบนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งาน ได้แก่ – ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการ Crack โปรแกรม6. ไม่ควรเข้าเว็บไซต์เสี่ยงภัยเว็บไซต์ประเภทนี้ ได้แก่ – เว็บไซต์ลามก อนาจาร7. สังเกตความปลอดภัยของเว็บไซต์ที่ให้บริการธุรกรรมออนไลน์ เว็บไซต์ E-Commerce ที่ปลอดภัยควรมีการทำ HTTPS มีใบรับรองทางอิเล็กทรอนิกส์ และมีมาตรฐานรองรับ8. ไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนตัวลงบนเว็บ Social Network ชื่อที่ใช้ควรเป็นชื่อเล่นหรือฉายาที่กลุ่มเพื่อนรู้จัก และไม่ควรเปิดเผยข้อมูลดังต่อไปนี้ เลขที่บัตรประชาชน เบอร์โทรศัพท์ หมายเลขบัตรเครดิต หมายเลขหนังสือเดินทาง ข้อมูลทางการแพทย์ ประวัติการทำงาน9. ศึกษาถึงข้อกฎหมายเกี่ยวกับการใช้สื่ออินเทอร์เน็ต ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 โดยมีหลักการง่ายๆ ที่จะช่วยให้สังคมออนไลน์สงบสุข คือให้คำนึงถึงใจเขาใจเรา10. ไม่หลงเชื่อโดยง่าย อย่าเชื่อในสิ่งที่เห็น และงมงายกับข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต ควรหมั่นศึกษาหาความรู้จากเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต และศึกษาข้อมูลให้รอบด้าน ก่อนปักใจเชื่อในสิ่งที่ได้รับรู้
3.รูปแบบการโจมตีรูปแบบต่างๆ
Hacker หมายถึง บุคคลที่มีความสามารถเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และใช้ความสามารถนั้นในทางที่ดี เช่นหาช่องโหว่และกระทำการแจ้งเตือนให้ผู้ผลิตทราบเพื่อเป็นการป้องกันแก้ไขต่อไปCracker หมายถึง คล้ายกับ Hacker แต่ต่างกันที่เจตนาของการนำความรู้ไปใช้ Cracker นั้นจะนำความรู้ไปใช้ในด้านของการโจมตีระบบหรือสร้างความเสียหายให้บุคคลอื่น
รูปแบบการโจมตี ได้แก่Social Engineering การโจมตีแบบนี้มีความอันตรายสูง โดยผู้โจมตีไม่จำเป็นต้องมีความรู้ความชำนาญเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เพียงแต่มีจิตวิทยาในการพูดและการแสดงออกระดับหนึ่งก็จะสามารถทำการโจมตีได้แล้ว การโจมตีในลักษณะนี้ ได้แก่
1. การหลอกถามเอาซึ่งหน้า การปลอมตัวเป็นผู้หวังดีต้องการจะช่วยเหลือระบบ เช่น แจ้งว่ามีช่องโหว่ มีการบุกรุกเข้าไปในระบบและขอการเข้าถึงเพื่อช่วยเหลือ
2. การค้นหาเอกสารต่างๆ รวมถึงการคุยถึงขยะเพื่อหาข้อมูล
การป้องกันวิธนี้ คือ ต้องเน้นไปที่การฝึกอบรบบุคลากรเป็นหลัก ให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องของ Social Engineering เพื่อไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของการโจมตีแบบรู้เท่าไม่ถึงการณ์
การเดารหัสผ่าน วิธีนี้ผู้โจมตีมักจะใช้เป็นอันดับแรกก่อนใช้วิธีอื่นๆ ที่เจาะระบบเข้าไป เป็นการเดา โดยส่วนมากระบบที่ตกเป็นเหยื่อ ก็คือ ระบบที่มีการใช้รหัสผ่านที่ไม่ปลอดภัย เช่น
การใช้รหัสผ่านที่เป็นคำที่คนทั่วไปรู้อยู่แล้ว เช่น 11111111, 12345678
การใช้เบอร์โทรศัพท์เป็นรหัสผ่าน เช่น 028888888, 0815555555
การใช้ชื่อ หรือ นามสกุลของตนเองมาตั้งเป็นรหัสผ่าน
การโจมตีผ่านเครือข่าย ได้แก่ สนิฟเฟอร์ เป็นชื่อเครื่องหมายทางการค้าของระบบตรวจจับแพ็กเก็ตเพื่อนำมาวิเคราะห์และตรวจหาปัญหาในเครือข่าย ตัวระบบจะประกอบด้วย คอมพิวเตอร์ที่มีการ์ดเครือข่ายสมรรถนะสูงและซอฟต์แวร์ตรวจวิเคราะห์แพ็กเก็ต ชื่อสนิฟเฟอร์ในปัจจุบันจึงนิยมใช้เป็นชื่อเรียกของโปรแกรมใดๆ ที่สามารถตรวจจับและวิเคราะห์แพ็กเก็ตได้ประตูกล Cracker ใช้ ประตูลับ (backdoors) ซึ่งเป็นวิธีพิเศษเข้าสู่ระบบโดยไม่ได้รับอนุญาต คือวิธีการที่ผู้พัฒนาโปรแกรมทิ้งรหัสพิเศษหรือเปิดทางเฉพาะไว้ในโปรแกรมโดยไม่ให้ผู้ใช้ล่วงรู้ Cracker ส่วนใหญ่จะมีชุดซอฟต์แวร์ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อเจาะเข้าสู่ระบบตามจุดอ่อนที่มีอยู่ด้วยวิธีการต่างๆ
ตัวอย่าง
การโจมตีแบบ Land Attack
ลักษณะ การโจมตีประเภทนี้เป็นการส่ง SYN ไปที่เครื่องเป้าหมายเพื่อขอสถาปนาการเชื่อมต่อ ซึ่งเครื่องที่เป็น เป้าหมายจะต้องตอบรับคำขอการเชื่อมต่อด้วย SYN ACK ไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ต้นทางเสมอ แต่เนื่องจากว่า IP Address ของเครื่องต้นทางกับเครื่องที่เป็นเป้าหมายนี้มี IP Address เดียวกัน โดยการใช้วิธีการสร้าง IP Address ลวง (โดยข้อเท็จจริงแล้วเครื่องของ Hacker จะมี IP Address ที่ต่างกับเครื่องเป้าหมายอยู่แล้ว แต่จะใช้วิธีการทางซอฟต์แวร์ในการส่งแพ็กเก็ตที่ประกอบด้วยคำขอการเชื่อมต่อ พร้อมด้วย IP Address ปลอม) ซึ่งโปรโตคอลของเครื่องเป้าหมายไม่สามารถแยกแยะได้ว่า IP Address ที่เข้ามาเป็นเครื่องปัจจุบันหรือไม่ ก็จะทำการตอบสนองด้วย SYN ACK ออกไป หากแอดเดรสที่ขอเชื่อมต่อเข้ามาเป็นแอดเดรสเดียวกับเครื่องเป้าหมาย ผลก็คือ SYN ACK นี้จะย้อนเข้าหาตนเอง และเช่นกันที่การปล่อย SYN ACK แต่ละครั้งจะต้องมีการปันส่วนของหน่วยความจำเพื่อการนี้จำนวนหนึ่ง ซึ่งหากผู้โจมตีส่งคำขอเชื่อมต่อออกมาอย่างต่อเนื่องก็จะเกิดปัญหาการจัดสรร หน่วยความจำ
Smurf
ผู้ โจมตีจะส่ง ICMP Echo Request ไปยัง broadcast address ในเครือข่ายที่เป็นตัวกลาง (ปกติจะเรียกว่า amplifier) โดยปลอม source IP address เป็น IP address ของระบบที่ต้องการโจมตี ซึ่งจะทำให้เครือข่ายที่เป็นตัวกลางส่ง ICMP Echo Reply กลับไปยัง IP address ของเป้าหมายทันที ซึ่งทำให้มีการใช้งานแบนด์วิดธ์อย่างเต็มที่
Password Attackในโลก Internet หรือระบบคอมพิวเตอร์ต่างๆ มักจะใช้ password เป็นสิ่งที่ยืนยันตัวตนของผู้ใช้งาน ดังนั้น เจ้าของ password จะเป็นผู้เดียวที่สามารถเข้าไปใช้งานข้อมูลและบริการต่างๆ ของระบบได้ตามสิทธิที่ได้รับและจะต้องรับผิดชอบในทุกๆ การกระทำที่เกิดขึ้นต้องกลายเป็นแพะรับบาป! โดยใช้เทคนิค“Password Attack” เพื่อค้นหา password ที่ถูกต้องของคุณได้ หากท่านตั้ง password ที่ง่ายต่อการคาดเดา
“Password Attack” มีด้วยกัน 2 รูปแบบ คือ
1. Dictionary Attack
เป็นการสุ่มเดา password จากไฟล์ที่มีการรวบรวมคำศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ใน Dictionary และคำศัพท์ที่พบบ่อยๆ อีกมากมายซึ่งเรียกว่า “Word list” ดังแสดงในรูปประกอบ โดยโปรแกรมเหล่านี้มีความถี่ในการเดา password อย่างน้อย 1 ล้านคำต่อวินาที 2. Brute force Attack
เป็นการเดา password ทุกความเป็นไปได้ของตัวอักษรในแต่ละหลักตัวอย่าง ATM Pin code มีจำนวน 4 หลัก แต่ละหลักสามารถตั้งค่าตัวเลข 0 – 9 ดังนั้น ในแต่ละหลักมีความเป็นไปได้ 10 วิธี เพราะฉะนั้น 4 หลักจึงมีความเป็นไปได้ทั้งหมด 10,000 วิธี….โปรแกรมจะทำการไล่ตัวเลขจาก 0000 ไปจนถึง9999 ครบทั้งหมื่นวิธี ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ในที่สุดจะได้ password ที่ถูกต้องดังนั้น Brute force attack จึงเป็นวิธีที่จะสามารถหา password ที่ถูกต้องได้อย่างแน่นอน เพียงแต่ขึ้นอยู่กับระยะของเวลาของการสุ่มหา จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความซับซ้อนของการตั้ง password
เพื่อป้องกันภัย “Password Attack” ทั้ง 2 รูปแบบข้างต้น ดังนั้น คุณควรตั้ง password ให้มีความซับซ้อนเพิ่มมากยิ่งขึ้น โดย password ที่ดีไม่ควรเป็นคำศัพท์อยู่ใน dictionary และควรมีความยาวอย่างน้อย 8 ตัวอักษร, ผสม 3 ใน 4 แบบ และเปลี่ยนเป็นประจำอย่างน้อยทุกๆ 90 วัน (เพื่อป้องกัน Brute force Attack)
ที่มาhttp://narong251.wordpress.com/assignment-4/ประเภทการโจมตีในระบบเค/http://satesila.wordpress.com/assignment/assignment-4/การโจมตีระบบเครือข่าย/http://panitasocialnetworking.blogspot.com/2010/10/blog-post_15.htmlhttp://wichitn265.wordpress.com/2012/10/17/ตัวอย่างการโจมตีระบบเค/
1.วิธีการโจมตีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การโจมตีเครือข่าย
แม้ว่าระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะเป็นเทคโนโลยีที่น่าอัศจรรย์ แต่ก็ยังมีความเสี่ยงอยู่มากถ้าไม่มีการควบคุมหรือป้องกันที่ดี การโจมตีหรือการบุกรุกเครือข่าย หมายถึง ความพยายามที่จะเข้าใช้ระบบ (Access Attack) การแก้ไขข้อมูลหรือระบบ (Modification Attack) การทำให้ระบบไม่สามารถใช้การได้ (Deny of Service Attack) และการทำให้ข้อมูลเป็นเท็จ (Repudiation Attack) ซึ่งจะกระทำโดยผู้ประสงค์ร้าย ผู้ที่ไม่มีสิทธิ์ หรืออาจเกิดจากความไม่ได้ตั้งใจของผู้ใช้เองต่อไปนี้เป็นรูปแบบต่าง ๆ ที่ผู้ไม่ประสงค์ดีพยายามที่จะบุกรุกเครือข่ายเพื่อลักลอบข้อมูลที่สำคัญหรือเข้าใช้ระบบโดยไม่ได้รับอนุญาต
1.1แพ็กเก็ตสนิฟเฟอร์
ข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ส่งผ่านเครือข่ายนั้นจะถูกแบ่งย่อยเป็นก้อนเล็ก ๆ ที่เรียกว่า “แพ็กเก็ต (Packet)” แอพพลิเคชันหลายชนิดจะส่งข้อมูลโดยไม่เข้ารหัส (Encryption) หรือในรูปแบบเคลียร์เท็กซ์ (Clear Text) ดังนั้น ข้อมูลอาจจะถูกคัดลอกและโพรเซสโดยแอพพลิเคชันอื่นก็ได้
1.2 ไอพีสปูฟิง
ไอพีสปูฟิง (IP Spoonfing) หมายถึง การที่ผู้บุกรุกอยู่นอกเครือข่ายแล้วแกล้งทำเป็นว่าเป็นคอมพิวเตอร์ที่เชื่อถือได้ (Trusted) โดยอาจจะใช้ไอพีแอดเดรสเหมือนกับที่ใช้ในเครือข่าย หรืออาจจะใช้ไอพีแอดเดรสข้างนอกที่เครือข่ายเชื่อว่าเป็นคอมพิวเตอร์ที่เชื่อถือได้ หรืออนุญาตให้เข้าใช้ทรัพยากรในเครือข่ายได้ โดยปกติแล้วการโจมตีแบบไอพีสปูฟิงเป็นการเปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มข้อมูลเข้าไปในแพ็กเก็ตที่รับส่งระหว่างไคลเอนท์และเซิร์ฟเวอร์ หรือคอมพิวเตอร์ที่สื่อสารกันในเครือข่าย
/
1.3. ผ่านการโจมตีรหัสการโจมตีรหัสผ่าน (Password Attacks) หมายถึงการโจมตีที่ผู้บุกรุกพยายามเดารหัสผ่านของผู้ใช้คนใดคนหนึ่ง ซึ่งวิธีการเดานั้นก็มีหลายวิธี เช่น บรู๊ทฟอร์ช (Brute-Force) ,โทรจันฮอร์ส (Trojan Horse) , ไอพีสปูฟิง , แพ็กเก็ตสนิฟเฟอร์ เป็นต้น การเดาแบบบรู๊ทฟอร์ช หมายถึง การลองผิดลองถูกรหัสผ่านเรื่อย ๆ จนกว่าจะถูก1.4การโจมตีแบบ Man-in-the-Middle
การโจมตีแบบ Man-in-the-Middle นั้นผู้โจมตีต้องสามารถเข้าถึงแพ็กเก็ตที่ส่งระหว่างเครือข่ายได้ เช่น ผู้โจมตีอาจอยู่ที่ ISP ซึ่งสามารถตรวจจับแพ็กเก็ตที่รับส่งระหว่างเครือข่ายภายในและเครือข่ายอื่น ๆ โดยผ่าน ISP การโจมตีนี้จะใช้ แพ็กเก็ตสนิฟเฟอร์เป็นเครื่องมือเพื่อขโมยข้อมูล หรือใช้เซสซั่นเพื่อแอ็กเซสเครือข่ายภายใน หรือวิเคราะห์การจราจรของเครือข่ายหรือผู้ใช้
/
1.5 การโจมตีแบบ DOS
การโจมตีแบบดีไนล์ออฟเซอร์วิส หรือ DOS (Denial-of Service) หมายถึง การโจมตีเซิร์ฟเวอร์โดยการทำให้เซิร์ฟเวอร์นั้นไม่สามารถให้บริการได้ ซึ่งปกติจะทำโดยการใช้รีซอร์สของเซิร์ฟเวอร์จนหมด หรือถึงขีดจำกัดของเซิร์ฟเวอร์ ตัวอย่างเช่น เว็บเซิร์ฟเวอร์ และเอฟทีพีเซิร์ฟเวอร์ การโจมตีจะทำได้โดยการเปิดการเชื่อมต่อ (Connection) กับเซิร์ฟเวอร์จนถึงขีดจำกัดของเซิร์ฟเวอร์ ทำให้ผู้ใช้คนอื่น ๆ ไม่สามารถเข้ามาใช้บริการได้
1.6 โทรจันฮอร์ส เวิร์ม และไวรัสคำว่า “โทรจันฮอร์ส (Trojan Horse)” นี้เป็นคำที่มาจากสงครามโทรจัน ระหว่างทรอย (Troy) และกรีก (Greek) ซึ่งเปรียบถึงม้าโครงไม้ที่ชาวกรีกสร้างทิ้งไว้แล้วซ่อนทหารไว้ข้างในแล้วถอนทัพกลับ พอชาวโทรจันออกมาดูเห็นม้าโครงไม้ทิ้งไว้ และคิดว่าเป็นของขวัญที่กรีซทิ้งไว้ให้ จึงนำกลับเข้าเมืองไปด้วย“Honeynet” แผนที่แสดงพื้นที่ที่โดนโจมตีทางอินเตอร์เน็ตแบบ Real-Time
การโจมตีระบบเครือข่าย/การโจมตีทางอินเตอร์เน็ตนั้นเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาทั่วโลก ซึ่งปัจจุบันข่าวที่เกี่ยวการโจมตีในแต่ละที่ ต้องใช้เวลาไม่ต่ำกว่าชั่วโมงในการรับรู้และแพร่กระจายข่าวออกไป แต่ปัจจุบันผู้ใช้งานสามารถตรวจดูการโจมตีทางอินเตอร์เน็ตที่เกิดขึ้นจริงรอบโลก ในแบบเรียลไทม์ได้แล้วด้วยแผนที่จากโครงการที่ชื่อว่า Honeynet ซึ่งให้ความรู้สึกเหมือนนั่งดูหนังสงครามอยู่ก็ไม่ปาน
ประเภทการโจมตีในระบบเครือข่าย Internet
ประเภทการโจมตีในระบบเครือข่าย Internetการโจมตีในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตภัยคุกคามทางอินเทอร์เน็ตถือได้ว่าเป็นภัยอันตรายต่อสังคมในปัจจุบันเป็นอย่างมาก เพราะนอกจากภัยนี้จะเป็นการรบกวนการทำงานของผู้ที่ใช้งานคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตแล้ว ยังส่งผลเสียต่อข้อมูลสำคัญๆ ที่มีอยู่อีกด้วย1. ชนิดของภัยคุกคามที่เกิดขึ้นบนอินเทอร์เน็ต จำแนกได้ดังนี้1.1 มัลแวร์ (Malware) คือความไม่ปกติทางโปรแกรมที่สูญเสียความลับทางข้อมูล (Confidentiality) ข้อมูลถูกเปลี่ยนแปลง (Integrity) สูญเสียเสถียรภาพของระบบปฏิบัติการ (Availability)
1.2 การโจมตีแบบ DoS/DDos คือการพยายามโจมตีเพื่อทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางหยุดทำงาน หรือสูญเสียเสถียรภาพ หากเครื่องต้นทาง(ผู้โจมตี) มีเครื่องเดียว เรียกว่าการโจมตีแบบ Denial of Service (DoS
1.3 BOTNET หรือ “Robot network” คือเครือข่ายหุ่นรบที่ถือเป็นสะพานเชื่อมภัยคุกคามทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1.4 ข้อมูลขยะ (Spam) คือภัยคุกคามส่วนใหญ่ที่เกิดจากอีเมล์หรือเรียกว่า อีเมล์ขยะ เป็นขยะออนไลน์ที่ส่งตรงถึงผู้รับโดยที่ผู้รับสารนั้นไม่ต้องการ และสร้างความเดือดร้อน รำคาญให้กับผู้รับได้ ในลักษณะของการโฆษณาสินค้าหรือบริการ การชักชวนเข้าไปยังเว็บไซต์ต่างๆ 1.5 Phishing เป็นคำพ้องเสียงกับ “fishing” หรือการตกปลาเพื่อให้เหยื่อมาติดเบ็ด คือ กลลวงชนิดหนึ่งในโลกไซเบอร์ด้วยการส่งข้อมูลผ่านอีเมล์หรือเมสเซนเจอร์ หลอกให้เหยื่อหลงเชื่อว่าเป็นสถาบันการเงินหรือองค์กรน่าเชื่อถือ แล้วทำลิงค์ล่อให้เหยื่อคลิก เพื่อหวังจะได้ข้อมูลสำคัญ เช่น username/password, เลขที่บัญชีธนาคาร, เลขที่บัตรเครดิต เป็นต้น แต่ลิงค์ดังกล่าวถูกนำไปสู่หน้าเว็บเลียนแบบ หากเหยื่อเผลอกรอกข้อมูลส่วนตัวลงไป มิจฉาชีพสามารถนำข้อมูลไปหาประโยชน์ในทางมิชอบได้
1.6 Sniffing เป็นการดักข้อมูลที่ส่งจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งบนเครือข่ายในองค์กร (LAN) เป็นวิธีการหนึ่งที่นักโจมตีระบบนิยมใช้ดักข้อมูลเพื่อแกะรหัสผ่านบนเครือข่ายไร้สาย (Wirdless LAN) และดักข้อมูล User/Password ของผู้อื่นที่ไม่ได้ผ่านการเข้ารหัส
2. วิธีป้องกันตนเองจากภัยคุกคามทางอินเทอร์เน็ต
สำหรับการใช้งานส่วนบุคคล มีดังนี้1. การตั้งสติก่อนเปิดเครื่อง ต้องรู้ตัวก่อนเสมอว่าเราอยู่ที่ไหน ที่นั่นปลอดภัยเพียงใด – ก่อน login เข้าใช้งานคอมพิวเตอร์ต้องมั่นใจว่าไม่มีใครแอบดูรหัสผ่านของเรา2. การกำหนด password ที่ยากแก่การคาดเดา ควรมีความยาวไม่ต่ำกว่า 8 ตัวอักษร และใช้อักขระพิเศษไม่ตรงกับความหมายในพจนานุกรม เพื่อให้เดาได้ยากมากขึ้นและการใช้งานอินเทอร์เน็ตทั่วไป เช่นการ Login ระบบ e-mail, ระบบสนทนาออนไลน์ (chat3. การสังเกตขณะเปิดเครื่องว่ามีโปรแกรมไม่พึงประสงค์ถูกเรียกใช้ขึ้นมาพร้อมๆ กับการเปิดเครื่องหรือไม่ ถ้าสังเกตไม่ทันให้สังเกตระยะเวลาบูตเครื่อง 4. การหมั่นตรวจสอบและอัพเดท OS หรือซอฟต์แวร์ที่ใช้ให้เป็นปัจจุบัน โดยเฉพาะโปรแกรมป้องกันภัยในเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมป้องกันไวรัส, โปรแกรมไฟร์วอลล์ 5. ไม่ลงซอฟต์แวร์มากเกินความจำเป็น ซอฟต์แวร์ที่จำเป็นต้องลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้แก่ – อินเทอร์เน็ตเบราเซอร์ เพื่อให้เปิดเว็บไซต์ต่างๆซอฟต์แวร์ที่ไม่ควรมีบนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งาน ได้แก่ – ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการ Crack โปรแกรม6. ไม่ควรเข้าเว็บไซต์เสี่ยงภัยเว็บไซต์ประเภทนี้ ได้แก่ – เว็บไซต์ลามก อนาจาร7. สังเกตความปลอดภัยของเว็บไซต์ที่ให้บริการธุรกรรมออนไลน์ เว็บไซต์ E-Commerce ที่ปลอดภัยควรมีการทำ HTTPS มีใบรับรองทางอิเล็กทรอนิกส์ และมีมาตรฐานรองรับ8. ไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนตัวลงบนเว็บ Social Network ชื่อที่ใช้ควรเป็นชื่อเล่นหรือฉายาที่กลุ่มเพื่อนรู้จัก และไม่ควรเปิดเผยข้อมูลดังต่อไปนี้ เลขที่บัตรประชาชน เบอร์โทรศัพท์ หมายเลขบัตรเครดิต หมายเลขหนังสือเดินทาง ข้อมูลทางการแพทย์ ประวัติการทำงาน9. ศึกษาถึงข้อกฎหมายเกี่ยวกับการใช้สื่ออินเทอร์เน็ต ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 โดยมีหลักการง่ายๆ ที่จะช่วยให้สังคมออนไลน์สงบสุข คือให้คำนึงถึงใจเขาใจเรา10. ไม่หลงเชื่อโดยง่าย อย่าเชื่อในสิ่งที่เห็น และงมงายกับข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต ควรหมั่นศึกษาหาความรู้จากเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต และศึกษาข้อมูลให้รอบด้าน ก่อนปักใจเชื่อในสิ่งที่ได้รับรู้
3.รูปแบบการโจมตีรูปแบบต่างๆ
Hacker หมายถึง บุคคลที่มีความสามารถเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และใช้ความสามารถนั้นในทางที่ดี เช่นหาช่องโหว่และกระทำการแจ้งเตือนให้ผู้ผลิตทราบเพื่อเป็นการป้องกันแก้ไขต่อไปCracker หมายถึง คล้ายกับ Hacker แต่ต่างกันที่เจตนาของการนำความรู้ไปใช้ Cracker นั้นจะนำความรู้ไปใช้ในด้านของการโจมตีระบบหรือสร้างความเสียหายให้บุคคลอื่น
รูปแบบการโจมตี ได้แก่Social Engineering การโจมตีแบบนี้มีความอันตรายสูง โดยผู้โจมตีไม่จำเป็นต้องมีความรู้ความชำนาญเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เพียงแต่มีจิตวิทยาในการพูดและการแสดงออกระดับหนึ่งก็จะสามารถทำการโจมตีได้แล้ว การโจมตีในลักษณะนี้ ได้แก่
1. การหลอกถามเอาซึ่งหน้า การปลอมตัวเป็นผู้หวังดีต้องการจะช่วยเหลือระบบ เช่น แจ้งว่ามีช่องโหว่ มีการบุกรุกเข้าไปในระบบและขอการเข้าถึงเพื่อช่วยเหลือ
2. การค้นหาเอกสารต่างๆ รวมถึงการคุยถึงขยะเพื่อหาข้อมูล
การป้องกันวิธนี้ คือ ต้องเน้นไปที่การฝึกอบรบบุคลากรเป็นหลัก ให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องของ Social Engineering เพื่อไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของการโจมตีแบบรู้เท่าไม่ถึงการณ์
การเดารหัสผ่าน วิธีนี้ผู้โจมตีมักจะใช้เป็นอันดับแรกก่อนใช้วิธีอื่นๆ ที่เจาะระบบเข้าไป เป็นการเดา โดยส่วนมากระบบที่ตกเป็นเหยื่อ ก็คือ ระบบที่มีการใช้รหัสผ่านที่ไม่ปลอดภัย เช่น
การใช้รหัสผ่านที่เป็นคำที่คนทั่วไปรู้อยู่แล้ว เช่น 11111111, 12345678
การใช้เบอร์โทรศัพท์เป็นรหัสผ่าน เช่น 028888888, 0815555555
การใช้ชื่อ หรือ นามสกุลของตนเองมาตั้งเป็นรหัสผ่าน
การโจมตีผ่านเครือข่าย ได้แก่ สนิฟเฟอร์ เป็นชื่อเครื่องหมายทางการค้าของระบบตรวจจับแพ็กเก็ตเพื่อนำมาวิเคราะห์และตรวจหาปัญหาในเครือข่าย ตัวระบบจะประกอบด้วย คอมพิวเตอร์ที่มีการ์ดเครือข่ายสมรรถนะสูงและซอฟต์แวร์ตรวจวิเคราะห์แพ็กเก็ต ชื่อสนิฟเฟอร์ในปัจจุบันจึงนิยมใช้เป็นชื่อเรียกของโปรแกรมใดๆ ที่สามารถตรวจจับและวิเคราะห์แพ็กเก็ตได้ประตูกล Cracker ใช้ ประตูลับ (backdoors) ซึ่งเป็นวิธีพิเศษเข้าสู่ระบบโดยไม่ได้รับอนุญาต คือวิธีการที่ผู้พัฒนาโปรแกรมทิ้งรหัสพิเศษหรือเปิดทางเฉพาะไว้ในโปรแกรมโดยไม่ให้ผู้ใช้ล่วงรู้ Cracker ส่วนใหญ่จะมีชุดซอฟต์แวร์ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อเจาะเข้าสู่ระบบตามจุดอ่อนที่มีอยู่ด้วยวิธีการต่างๆ
ตัวอย่าง
การโจมตีแบบ Land Attack
ลักษณะ การโจมตีประเภทนี้เป็นการส่ง SYN ไปที่เครื่องเป้าหมายเพื่อขอสถาปนาการเชื่อมต่อ ซึ่งเครื่องที่เป็น เป้าหมายจะต้องตอบรับคำขอการเชื่อมต่อด้วย SYN ACK ไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ต้นทางเสมอ แต่เนื่องจากว่า IP Address ของเครื่องต้นทางกับเครื่องที่เป็นเป้าหมายนี้มี IP Address เดียวกัน โดยการใช้วิธีการสร้าง IP Address ลวง (โดยข้อเท็จจริงแล้วเครื่องของ Hacker จะมี IP Address ที่ต่างกับเครื่องเป้าหมายอยู่แล้ว แต่จะใช้วิธีการทางซอฟต์แวร์ในการส่งแพ็กเก็ตที่ประกอบด้วยคำขอการเชื่อมต่อ พร้อมด้วย IP Address ปลอม) ซึ่งโปรโตคอลของเครื่องเป้าหมายไม่สามารถแยกแยะได้ว่า IP Address ที่เข้ามาเป็นเครื่องปัจจุบันหรือไม่ ก็จะทำการตอบสนองด้วย SYN ACK ออกไป หากแอดเดรสที่ขอเชื่อมต่อเข้ามาเป็นแอดเดรสเดียวกับเครื่องเป้าหมาย ผลก็คือ SYN ACK นี้จะย้อนเข้าหาตนเอง และเช่นกันที่การปล่อย SYN ACK แต่ละครั้งจะต้องมีการปันส่วนของหน่วยความจำเพื่อการนี้จำนวนหนึ่ง ซึ่งหากผู้โจมตีส่งคำขอเชื่อมต่อออกมาอย่างต่อเนื่องก็จะเกิดปัญหาการจัดสรร หน่วยความจำ
Smurf
ผู้ โจมตีจะส่ง ICMP Echo Request ไปยัง broadcast address ในเครือข่ายที่เป็นตัวกลาง (ปกติจะเรียกว่า amplifier) โดยปลอม source IP address เป็น IP address ของระบบที่ต้องการโจมตี ซึ่งจะทำให้เครือข่ายที่เป็นตัวกลางส่ง ICMP Echo Reply กลับไปยัง IP address ของเป้าหมายทันที ซึ่งทำให้มีการใช้งานแบนด์วิดธ์อย่างเต็มที่
Password Attackในโลก Internet หรือระบบคอมพิวเตอร์ต่างๆ มักจะใช้ password เป็นสิ่งที่ยืนยันตัวตนของผู้ใช้งาน ดังนั้น เจ้าของ password จะเป็นผู้เดียวที่สามารถเข้าไปใช้งานข้อมูลและบริการต่างๆ ของระบบได้ตามสิทธิที่ได้รับและจะต้องรับผิดชอบในทุกๆ การกระทำที่เกิดขึ้นต้องกลายเป็นแพะรับบาป! โดยใช้เทคนิค“Password Attack” เพื่อค้นหา password ที่ถูกต้องของคุณได้ หากท่านตั้ง password ที่ง่ายต่อการคาดเดา
“Password Attack” มีด้วยกัน 2 รูปแบบ คือ
1. Dictionary Attack
เป็นการสุ่มเดา password จากไฟล์ที่มีการรวบรวมคำศัพท์ต่างๆ ที่อยู่ใน Dictionary และคำศัพท์ที่พบบ่อยๆ อีกมากมายซึ่งเรียกว่า “Word list” ดังแสดงในรูปประกอบ โดยโปรแกรมเหล่านี้มีความถี่ในการเดา password อย่างน้อย 1 ล้านคำต่อวินาที 2. Brute force Attack
เป็นการเดา password ทุกความเป็นไปได้ของตัวอักษรในแต่ละหลักตัวอย่าง ATM Pin code มีจำนวน 4 หลัก แต่ละหลักสามารถตั้งค่าตัวเลข 0 – 9 ดังนั้น ในแต่ละหลักมีความเป็นไปได้ 10 วิธี เพราะฉะนั้น 4 หลักจึงมีความเป็นไปได้ทั้งหมด 10,000 วิธี….โปรแกรมจะทำการไล่ตัวเลขจาก 0000 ไปจนถึง9999 ครบทั้งหมื่นวิธี ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ในที่สุดจะได้ password ที่ถูกต้องดังนั้น Brute force attack จึงเป็นวิธีที่จะสามารถหา password ที่ถูกต้องได้อย่างแน่นอน เพียงแต่ขึ้นอยู่กับระยะของเวลาของการสุ่มหา จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความซับซ้อนของการตั้ง password
เพื่อป้องกันภัย “Password Attack” ทั้ง 2 รูปแบบข้างต้น ดังนั้น คุณควรตั้ง password ให้มีความซับซ้อนเพิ่มมากยิ่งขึ้น โดย password ที่ดีไม่ควรเป็นคำศัพท์อยู่ใน dictionary และควรมีความยาวอย่างน้อย 8 ตัวอักษร, ผสม 3 ใน 4 แบบ และเปลี่ยนเป็นประจำอย่างน้อยทุกๆ 90 วัน (เพื่อป้องกัน Brute force Attack)
ที่มาhttp://narong251.wordpress.com/assignment-4/ประเภทการโจมตีในระบบเค/http://satesila.wordpress.com/assignment/assignment-4/การโจมตีระบบเครือข่าย/http://panitasocialnetworking.blogspot.com/2010/10/blog-post_15.htmlhttp://wichitn265.wordpress.com/2012/10/17/ตัวอย่างการโจมตีระบบเค/
1.การรักษาความปลอดภัยระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบการรักษาความปลอดภัยเครือข่าย
ในระบบเครือข่ายนั้นมีผู้ร่วมใช้เป็นจำนวนมาก ดังนั้นจึงมีทั้งผู้ที่ประสงค์ดีและประสงค์ร้ายควบคู่กันไป สิ่งที่พบเห็นกันบ่อยๆ ในระบบเครือข่ายก็คืออาชญากรรมทางด้านเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลายประเภทด้วยกัน เช่น พวกที่คอยดักจับสัญญาณผู้อื่นโดยการใช้เครื่องมือพิเศษจั๊มสายเคเบิลแล้วแอบบันทึกสัญญาณ พวกแฮกเกอร์ (Hackers) ซึ่งได้แก่ ผู้ที่มีความรู้ความชำนาญด้านคอมพิวเตอร์เข้าไปเจาะระบบคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย หรือไวรัสคอมพิวเตอร์ (Virus Computer) ซึ่งเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เขียนขึ้นมาโดยมุ่งหวังในการก่อกวน หรือทำลายข้อมูลในระบบการรักษาความปลอดภัยในระบบเครือข่ายมีวิธีการกระทำได้หลายวิธีคือ
- การระมัดระวังในการใช้งาน การติดไวรัสมักเกิดจากผู้ใช้ไปใช้แผ่นดิสก์ร่วมกับผู้อื่น แล้วแผ่นนั้นติดไวรัสมา หรืออาจติดไวรัสจากการดาวน์โหลดไฟล์มาจากอินเทอร์เน็ต
- หมั่นสำเนาข้อมูลอยู่เสมอ เป็นการป้องกันการสูญหายและถูกทำลายของข้อมูล
- ติดตั้งโปรแกรมตรวจสอบและกำจัดไวรัส วิธีการนี้สามารตรวจสอบ และป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์ได้ระดับหนึ่ง แต่ไม่ใช่เป็นการป้องกันได้ทั้งหมด เพราะว่าไวรัสคอมพิวเตอร์ได้มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา
- การติดตั้งไฟร์วอลล์ (Firewall) ไฟร์วอลล์จะทำหน้าที่ป้องกันบุคคลอื่นบุกรุกเข้ามาเจาะเครือข่ายในองค์กรเพื่อขโมยหรือทำลายข้อมูล เป็นระยะที่ทำหน้าที่ป้องกันข้อมูลของเครือข่ายโดยการควบคุมและตรวจสอบการรับส่งข้อมูลระหว่างเครือข่ายภายในกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
- การใช้รหัสผ่าน (Username & Password) การใช้รหัสผ่านเป็นระบบรักษาความปลอดภัยขั้นแรกที่ใช้กันมากที่สุด เมื่อมีการติดตั้งระบบเครือข่ายจะต้องมีการกำหนดบัญชีผู้ใช้และรหัสผ่านหากเป็นผู้อื่นที่ไม่ทราบรหัสผ่านก็ไม่สามารถเข้าไปใช้เครือข่ายได้หากเป็นระบบที่ต้องการความปลอดภัยสูงก็ควรมีการเปลี่ยนรหัสผ่านบ่อย ๆ เป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่ององค์กรจำนวนมากได้สร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานในองค์กร มีการใช้มาตรฐานเดียวกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เราเรียกเครือข่ายเฉพาะในองค์กรนี้ว่า อินทราเน็ต อินทราเน็ตเชื่อมโยงผู้ใช้ทุกคนในองค์กรให้ทำงานร่วมกัน มีการกำหนดการทำงานเป็นทีมที่เรียกว่า Workgroup แต่ละทีมมีระบบข้อมูลข่าวสารของตน มีสถานีบริการข้อมูลที่เรียกว่า เซิร์ฟเวอร์ การทำงานในระดับ Workgroup จึงเน้นเป้าหมายเฉพาะกลุ่ม เช่น ทีมงานทางด้านการขาย ทีมงานทางด้านบัญชี การเงิน การผลิต ฯลฯอินทราเน็ต ได้รวมทีมงานต่าง ๆ เหล่านี้เข้าด้วยกัน เป็นเครือข่ายขององค์กร มีการแลกเปลี่ยนและใช้ข้อมูลร่วมกัน ใช้ทรัพยากรทางคอมพิวเตอร์ร่วมกัน มีระบบการทำงานที่เรียกว่า เวอร์กโฟล์ว (workflow)ระบบการรักษาความปลอดภัยขั้นพื้นฐานที่มีในขณะเรียกเข้าหาระบบคือ Username กับ Password ในการ Login เข้าสู่ระบบ เช่น เรียกใช้เซิร์ฟเวอร์เพื่อขอข้อมูลข่าวสาร จำเป็นต้องทราบว่าใครเป็นผู้เรียกเข้าหา โดยให้ผู้เรียกป้อน Username กับ Password ผู้ใช้ทุกคนจะมีรหัสเฉพาะของตน จำเป็นต้องให้ผู้ใช้กำหนดรหัสที่ยากต่อการถอดโดยผู้อื่น โดยหลักการพื้นฐานควรกำหนดรหัสนี้ให้มีความยาวไม่น้อยกว่า 8 ตัวอักษร ควรให้มีการผสมระหว่างตัวอักขระพิเศษและตัวเลขด้วย เช่น UhdE@726! ไม่ควรนำเอาคำศัพท์ในพจนานุกรม หรือใช้ชื่อ ใช้วันเกิดเพราะรหัสเหล่านี้ง่ายต่อการถอด อย่านำรหัสนี้ให้กับผู้อื่น และควรเปลี่ยนรหัส เมื่อใช้ไปได้ระยะเวลาหนึ่ง
อย่างไรก็ดี การทำงานขององค์กรมิได้กำหนดขอบเขตเฉพาะภายในองค์กรเท่านั้น หลายองค์กรนำเครือข่ายอินทราเน็ตของตนเองเชื่อมต่อเข้าสู่เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อให้การทำงานเชื่อมโยงกับองค์กรอื่นได้ การทำงานร่วมกับองค์กรอื่นเป็นหนทางของการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน เพื่อความรวดเร็ว ความสะดวกสบายในการทำงาน องค์กรจำนวนมากมีโฮมเพ็จของตนเองเพื่อการประชาสัมพันธ์สินค้าและบริการ มีการรับใบคำสั่งซื้อจากภายนอก หรือให้บริการหลังการขายโดยตรงทางเครือข่าย เมื่อนำเครือข่ายอินทราเน็ตขององค์กรเชื่อมเข้าสู่เครือข่ายสาธารณะ ย่อมมีความเสี่ยงต่อความปลอดภัยของข้อมูลและระบบคอมพิวเตอร์ขององค์กร การรักษาความปลอดภัยจึงเป็นระบบที่ต้องคำนึงถึง ถึงแม้ว่าจะต้องเพิ่มค่าใช้จ่ายของระบบก็จำเป็นต้องทำ เพราะหากเกิดปัญหาในเรื่องข้อมูลข่าวสารหรือการรั่วไหลของข้อมูลแล้ว ความสูญเสียจะมีมากกว่า
Firewall มีหน้าที่ในการจัดการบริหารที่เป็นทางผ่านเข้าออก เพื่อป้องกันการแปลกปลอมของแฮกเกอร์ภายนอกที่จะเจาะเข้าระบบ และยังควบคุมการใช้งานภายใน โดยกำหนดสิทธิ์ของแต่ละบุคคลให้ผ่านออกจากระบบได้ ดังนั้นเมื่อมีการนำเอาเครือข่ายอินทราเน็ตขององค์กรเชื่อมต่อกับเครือข่ายสาธารณะ เช่น อินเทอร์เน็ต ระบบ Firewall เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญที่ใช้ในการป้องกันและรักษาความปลอดภัย โดยปกติมักใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งทำหน้าที่เป็น Firewall เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องนี้จะมีการเชื่อมต่อเข้าสู่เครือข่ายสองด้าน ด้านหนึ่งเชื่อมกับอินทราเน็ต อีกด้านหนึ่งเชื่อมกับ อินเทอร์เน็ต ดังนั้นจึงเป็นเสมือนยามเฝ้าประตูทางเข้าออก เพื่อตรวจสอบการเข้าออกของบุคคล
Firewall จะควบคุมสิทธิ์ และติดตามการใช้งาน เช่น กำหนดให้บุคคลภายนอกเข้ามาใช้ได้ในกรอบที่จำกัด และเมื่อเข้ามาก็จะติดตามการใช้งาน หากมีความพยายามจะใช้เกินสิทธิ์ เช่น การ ล็อกออนไปยังเครื่องที่ไม่มีสิทธิ์ก็จะป้องกันไว้ ขณะเดียวกันอาจเป็นตัวตรวจสอบเอกสารหรือข้อมูลบางอย่าง เช่น จดหมาย หรือแฟ้มข้อมูล ระบบของ Firewall มีหลายระดับ ตั้งแต่การใช้อุปกรณ์สื่อสาร เช่น เราเตอร์ทำหน้าที่เป็น Firewall เพื่อควบคุมการติดต่อสื่อสาร หรือป้องกันผู้แปลกปลอม จนถึงขั้นการใช้คอมพิวเตอร์ที่มีซอฟต์แวร์ Firewall อันทรงประสิทธิภาพ
การสร้างกฎระเบียบและวินัยของบุคลากรในองค์กรเป็นเรื่องสำคัญ การเชื่อมโยงเครือข่ายเป็นหนทางให้ใช้งานได้สะดวก แต่ก็เป็นเส้นทางที่ผู้แปลกปลอมจะใช้เป็นทางเข้าเพื่อเจาะเครือข่ายในองค์กรได้ง่ายด้วยเช่นเดียวกันIT Digit Serve มีความยินดีให้บริการปรึกษาด้านเทคนิคเพื่อเลือก Solution สำหรับลูกค้าที่เหมาะสมและคุ้มค่าที่สุดตลอดจนถึงบริการติดตั้งระบบ Firewall อันทรงประสิทธิภาพ เพื่อปกป้องธุรกิจของคุณ
ที่มา http://www.itdigitserve.com/ระบบการรักษาความปลอดภั/
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)